H&M เม กา บางนา

มีบัญชีอยู่แล้ว? 19 ก. ย.

ลูกสูบ ( Piston), c. วัสดุยืดหยุ่น ( Flexible Member), d. ลอนกลีบ ( Lobes), e. เกียร์ ( Gears), f. ลูก สูบหมุนตามเส้นรอบวง ( Circumferential Pistons) และ g. สกรู ( Screw) 3. ปั๊มประเภทสูบชัก ( Reciprocating Pumps) ปั๊มแบบสูบชัก เป็นกลุ่มหนึ่งของปั๊มประเภทแทนที่บวก (Positive Displacement Pumps) เช่นเดียวกับปั๊มแบบโรตารี่ และเป็นประเภทของปั๊มที่นำมาใช้งานมาก โดยใช้การเคลื่อนที่ของลูกสูบ จะทำให้ภายในห้องสูบมีแรงดันต่ำกว่าบรรยากาศภายนอก เกิดแรง"ดูด" ทำให้ความดันบรรยากาศภายนอกผลักดันน้ำขึ้นผ่านเช๊ควาล์วเข้ามาในห้องสูบ และเกิดการผลักออกไปจากปั๊มที่ความดันสูงกว่า สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ a. ปั๊มแบบลูกสูบ (Piston pump), b. ปั๊มแบบท่อนสูบ ( Plunger pump), c. ปั๊มแบบไดอะแฟรม ( Diaphragm pump) ดังนั้นถ้าสรุป ประเภทของปั๊ม ( Classification of Pumps) ทั้งหมด 3 ประเภท คือ 1. ปั๊มประเภทหมุน ( Rotary Pumps) และ 3. ปั๊มประเภทสูบชัก (Reciprocating Pumps) สามารถสรุปได้ ตามแผนภูมิข้างล่าง

  • Positive displacement pump คือ p
  • เครื่องดิสเพลสเมนต์เชิงบวกคืออะไร?
  • Positive displacement pump คือ for sale

1) ปั๊มโรตารีแบบเกียร์ (Gear pump) นิยมใช้กันแพร่หลาย ของเหลวจะถูกสูบด้วยอัตราคงที่ ทำให้การไหลเป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เหมาะกับงานที่ต้องการสูบของเหลวที่มีความหนืดสูง ภายในตัวเรือนประกอบด้วยเฟืองเกียร์ 2 ตัว หมุนขบกันอยู่ซึ่งง่ายต่อการซ่อมแซม ทำความสะอาด และสามารถถอดประกอบได้ง่าย ประสิทธิภาพการทำงานของปั๊มประเภทนี้ค่อนข้างสูงเมื่อทำงานกับของไหลที่มีคุณสมบัติเป็นสารหล่อลื่น 1. 2) ปั๊มโรตารีแบบเกลียว (Screw pump) ภายในปั๊มโรตารีแบบเกลียว (Screw) นี้ ภายในจะมีลักษณะเป็นเกลียวหมุนขบกัน การหมุนขบกันของเกลียวจะทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันขึ้นภายในระบบ ทำให้สามารถขับดันให้ของไหลเกิดการเคลื่อนที่ได้ 2. )

ปั๊มประเภทสูบชัก (Reciprocating Pumps) ตามแผนภูมิข้างล่าง 1. ปั๊มประเภทจลน์ ( Kinetic pump) ทำงานโดยการโดยใช้นำพลังงานที่ได้จากการหมุน ให้ไปเพิ่มพลังงานให้กับของเหลว โดยการหมุน ของครีบของใบพัด เมื่อของเหลว เกิดการเคลื่อนผ่านช่องระหว่างครีบของใบพัด ก็จะเกิดการยกตัวของโมเมนตัมของของเหลวให้สูงขึ้นกลายเป็นความเร็ว หรือเกิดเป็น พลังงานจลน์ขึ้น หรือเรียกว่า หัวความเร็ว ( Velocity head) เมื่อของเหลวไหลออกจากใบพัดของปั๊ม พลังงานนี้จะถูกแปลงไปเป็น หัวความดัน ( Pressure head) ปั๊มประเภทจลน์ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ a. ปั๊มกลุ่มแรงเหวี่ยง (Centrifuga l), b. ปั๊มกลุ่มรีเยนเนอเรทีฟเทอร์ไบน์ (Regenerative turbine), c. ปั๊มกลุ่มใช้ผลกระทบพิเศษ (Special Effect) ตามแผนภูมิข้างล่าง a. ปั๊มกลุ่มแรงเหวี่ยง ( Centrifugal) ประกอบด้วยชนิด ไหลตามแนวแกน ( Axial flow), ไหลแบบรวม (Mixed flow) และ ไหลตามแนวรัศมี( Radial flow) ตามแผนภูมิข้างล่าง b. ปั๊มกลุ่มรีเยนเนอรีเยนเนอร์เรทีฟเทอร์ไบน์ (Regenerative turbine) ประกอบด้วย ปั๊มไหลรอบแนวขอบผิว ( Peripheral Flow), ปั๊มไหลในช่องด้านข้าง ( Side channel pump) ตามแผนภูมิข้างล่าง c. ปั๊มกลุ่มใช้ผลกระทบพิเศษ ( Special Effect) ประกอบด้วยปั๊ม แบบหัวฉีด ( Jet Eductor), แบบท่อปิโต ( Pitot tube), แบบเจ็ทสกี ( Jet-skis), แบบก๊าซยกตัว ( Gas Lift), แบบไฮดรอลิกแรม ( Hydraulic ram), แบบ วอร์เทกซ์ (Induced v ortex), แบบปล่อยออกบางส่วน (Partial emission), แบบ ลากหนืด ( Viscous drag) และ แบบแม่เหล็กไฟฟ้า ( Electromagnetic) ตามแผนภูมิข้างล่าง 2.

แต่เดิมนั้นประเภทของปั๊ม ( Classification of Pumps) ซึ่งใช้หลักการทางวิชาการทางฟิสิกส์ ปั๊มจึงถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ปั๊มประเภทพลวัต ( Dynamic Pumps) และ ปั๊มประเภทแทนที่บวก ( Positive Displacement Pumps) จาก โดยทาง ANSI/HI (American National Standards Institute/ Hydraulic Institute) ได้กำหนดมาตรฐานของปั๊มต่างๆที่ใช้ในการอ้างอิงทั่วโลก โดยใช้รูปร่างลักษณะของการใช้งานนำมาประกอบกัน แบ่งได้เป็น 6 ประเภทลักษณะ ดังนี้:- - Kinetic Pump Types (ANSI/HI 1. 1 - 1. 2) - Vertical Pump Types (ANSI/HI 2. 1 - 2. 2) - Rotary Pump Types (ANSI/HI 3. 1 - 3. 5) - Sealless Centrifugal Pump Type (ANSI/HI 5. 1 - 5. 6) - Reciprocating Power Pump Type (ANSI/HI 6. 1 - 6. 5) - Direct Acting (Steam) Pump Type (ANSI/HI 8. 1 - 8. 5) เนื่องจากเป็นการกำหนดในระดับสากล จึงมีความซับซ้อนและมีรายละเอียดมาก ดังนั้นจึงขอสรุปโดยใช้หลักการทางฟิสิกส์ ลักษณะโครงสร้าง และเพื่อความกระชับในการใช้งาน จึงขอจัดแบ่งประเภทของปั๊มเป็น 3 ประเภทลักษณะ คือ 1. ปั๊มประเภทจลน์ ( Kinetic pumps) 2. ปั๊มประเภทโรตารี่ ( Rotary Pumps) และ 3.

แบบโวลูท ( Volute) และ 2.

Compact Type รุ่น MiniPump 2. Easy-Load Type รุ่น YZ1515x(PFS), YZ1515x YZ2515x (PPS) 3. Fast-Load Type รุ่น DZ25-3L, DZ25-6L 4. Standard Type รุ่น SN15-14, SN15-16, SN25 5. Multi Channels Type รุ่น MC, DG, MT12 6. Industrial Type รุ่น YZ35 PUMP HEAD หัวปั๊ม สามารถ ถอดเปลี่ยนได้ ใส่เพิ่มได้ หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับการใช้งาน ทำให้ สามารถรองรับความต้องการอัตราจ่าย จากต่ำสุด ไปสูงสุด ได้ กว้างมาก Syringe Pump ปั๊มที่ทำงานควบคู่กับกระบอกฉีดยา (Syringe) ในการฉีดสาร ที่เป็นของเหลว หรือ กึ่งของเหลว ออกทางหัวเข็ม ฉีดยา (Needle) มี 3 รุ่นให้เลือก

  1. ฝึกงาน ช การ ช่าง หมายถึง
  2. ลูกชิ้น ผัด พริก แกง
  3. ประกาศ ขาย ddproperty

huduology.com, 2024